ฝุ่นละออง pm2.5 ปกคลุมกรุงเทพฯ และปริมณฑล แพทย์แนะแนวทางป้องกัน
ร่วมการป้องกัน ฝุ่นละออง pm2.5 รุกหนักปกคลุมกรุงเทพฯ และปริมณฑล แพทย์แนะชี้มีผลต่อสุขภาพร่างกายโดยเฉพาะ ประชาชนหลีกเลี่ยงออกจากนอกบ้าน และดูแลตัวเอง ควรมี เครื่องฟอกอากาศ ทำให้อากาศบริสุทธิ์
สถานการณ์ ฝุ่นละออง pm2.5 รุกอย่างหนัก ปกคลุมหลายจังหวัดโดยเฉพาะในกรุงเทพฯ และปริมณฑลโดยมีคาดการณ์สภาพอากาศในกรุงเทพฯ ควรเฝ้าระวังการสะสมของ ฝุ่นละออง เนื่องจากสภาพที่นิ่ง และปิดพื้นที่กรุงเทพฯกลางกรุงธนบุรีเหนือ และใต้ พื้นที่ท้ายลมที่ยังคงมีมีความหนาแน่น ปกคลุมอยู่ เพราะฝุ่นละอองมีขนาดเล็กมากอาจเกิดอาการเฉียบพลันทำให้โรคเบาหวานทรุด ก่อมะเร็งในปอด ควรใช้ เครื่องฟอกอากาศ ที่มีคุณภาพ พร้อมชวนแอดไลน์ปรึกษาผลกระทบ
เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ผ่านที่ผ่าน มานายแพทย์มานัสโพธาภรณ์ รองอธิการกรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุขชี้ ฝุ่นมลพิษ หรือ PM 2.5 ที่มีขนาดเล็กถึง 2.5 ไมโครคอน หรือขนาด 0.0025 มิลลิกรัม เทียบกับเม็ดทรายมีขนาด 60 ไมครอนด้วย ขนาดที่เล็กมากทำให้กระจายไปในละอองอากาศได้ง่าย จึงทำให้อากาศเสียสมดุลไม่ถ่ายเท ทำให้หายใจเข้าไปได้ลึก ถึงถุงลมขนาดเล็กจากหลอดลมไปยังหลอดเลือด และกระจายไปส่วนต่างๆตามร่างกาย
สามารถแทรกแซงไปตามร่างกาย และอวัยวะต่างๆ ได้เลยทำให้มีอายุสั้นลง ทำให้เกิดอาการอักเสบตามส่วนต่างๆ ของอวัยวะไม่ว่าจะเป็น แสบตา แสบคอ น้ำมูกไหล แสบจมูก ผื่นผิวหนัง มีเสมหะ ไอ หายใจลำบาก ทำให้เป็นภูมิแพ้ได้ง่าย เพราะฉะนั้นควรจะออกไปสูดอากาศบริสุทธิ์ไม่ว่าจะเป็นต่างจังหวัด หรือพื้นที่ที่มีต้นไม้เยอะ
นอกจากนี้แพทย์ยังรายงาน ทำให้คนที่เป็นโรคเบาหวาน หรืออาการของเบาหวานแย่ลง มีผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ และที่ร้ายที่สุดคือเป็นมะเร็งอนุภาคเหล่านี้ มีส่วนประกอบแตกต่างกัน ตามแหล่งกำเนิดเช่น ถ้าหากมาจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงจากรถยนต์ ส่วนประกอบ ก็จะกลายเป็นตัวทำลาย แต่ถ้าเป็นการเผาไหม้ในป่าก็จะเป็นพวกสาร polyaromatic hydrocrbon พวกซัลเฟอร์เป็นต้น และนอกจากนี้ยังทำให้มลพิษทางอากาศอื่นๆ ปะปนด้วย ด้วย ฝุ่นละออง pm2.5 นายแพทย์กล่าว
ผู้อำนวยกา รโรงพยาบาล รัตนาราราชธานี (นายแพทย์ เกรียงไกร นำไทยสูง ) กล่าวว่าเราสามารถสัมผัสฝุ่น PM 2.5 ได้ทั้งในอาคาร และนอกอาคาร โดยเฉพาะในอาคารที่ไม่มีหน้าต่าง หรือปิดประตูที่มิดชิดและอยู่ในบริเวณที่มีสภาพอากาศไม่ดี ถ้าหากหลีกเลี่ยงไม่ได้ให้ใส่หน้ากาก ที่สามารถกรองฝุ่นขนาดเล็กได้อย่างเช่นหน้ากาก n95 หลีกเลี่ยงกิจกรรมนอกบ้าน ในบริเวณที่มีค่ามลพิษทางอากาศสูง โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง เด็กเล็ก หญิงตั้งครรภ์ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยปอดเรื้อรัง ผู้ป่วยโรคหัวใจ และหลอดเลือดควรหมั่นทำความสะอาดบ้านบ่อยๆ ติด เครื่องฟอก จะสามารถช่วยกรองฝุ่น PM 2.5 ได้

ปริมาณ ฝุ่นละออง pm2.5 ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล พื้นที่ต้องเฝ้าระวัง
มีรายงานจากกรมอุตุนิยมวิทยาสภาพอากาศ ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ฝุ่นละออง pm2.5 ที่ยังปกคลุมอยู่มีแนวโน้มสภาพอากาศอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ช่วงวันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ แต่ควรเฝ้าระวังภาคเหนือตอนบน และตอนล่าง โดยเฉพาะวันที่ 4 กุมภาพันธ์ดังต่อไปนี้
- วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2566 พื้นที่เฝ้าระวังกรุงเทพฯ ในเขตพญาไท ดินแดง กรุงเทพฯ ตะวันออก คลองสามวา มีนบุรี
- วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 พื้นที่เฝ้าระวังกรุงเทพฯ ตะวันออก คลองสามวา มีนบุรี กรุงธนใต้ บางแค หนองแขม
- วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2561 พื้นที่เฝ้าระวังกรุงเทพฯ ตะวันออก คลองสามวา มีนบุรี กรุงธนบุรีใต้ บางแคหนองแขม
- วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2561 พื้นที่เฝ้าระวัง กรุงธนใต้ บางแค หนองแขม กรุงเทพฯ ตะวันออก คลองสามวามีนบุรี
- วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2561 พื้นที่เฝ้าระวังกรุงธนใต้ บางแค หนองแขม กรุงเทพฯ ตะวันออก คลองสามวามีนบุรี
- วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2561 พื้นที่เฝ้าระวังกรุงเทพตะวันออก คลองสามวา มีนบุรี กรุงธนบุรี บางแค หนองแขม
และใน 17 ภาคเหนือ ที่ยังมี ฝุ่นละออง pm2.5 ปกคลุมอยู่ดังต่อไปนี้
- วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2561 เชียงใหม่ เชียงราย
- วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2561 เชียงใหม่ สุโขทัย
- วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 พิษณุโลก สุโขทัย
- วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2561 พิษณุโลก สุโขทัย
- วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2566 เชียงราย สุโขทัย
- วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 เชียงราย สุโขทัย
รายงานจากศูนย์แก้ไขปัญหาสภาวะทางอากาศรายงาน ติดตามตรวจสอบสภาพอากาศรายวัน ภาพรวมปริมาณ PM 2.5 ในประเทศ ตรวจพบเกินค่ามาตรฐานในหลายจังหวัด ได้แก่ จังหวัดปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพมหานครนครปฐม สมุทรสาคร เชียงราย สมุทรปราการ เชียงใหม่ น่าน แม่ฮ่องสอน พะเยา แพร่ ลำภู ลำปาง อุตรดิตถ์สุโขทัย ตาก พิษณุโลก กำแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ อุทัยธานี สิงห์บุรี สระบุรี ลพบุรี อ่างทองสุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา ราชบุรี สมุทรสงคราม เพชรบุรี ปราจีนบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา บึงกาฬหนองคาย เลย อุดรธานี หนองบัวลำพูน และ จังหวัดนครราชสีมา
- ในพื้นที่ภาคเหนือ เกินค่ามาตรฐานเป็นส่วนใหญ่ตรวจวัดได้ 32 ถึง 154 มคก/ลบ.ม.
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เกินค่ามาตรฐาน 6 พื้นที่ ตรวจวัดได้ 23-92 มคก/ลบ.ม.
- ภาคกลาง และตะวันออก เกินค่ามาตรฐานเป็นส่วนใหญ่ตรวจจับได้ 47- 115 มคก/ลบ.ม.
- ภาคตะวันออก เกิดค่ามาตรฐาน 3 พื้นที่ ตรวจวัดได้ 24-65 มคก/ลบ.ม.
- ภาคใต้ ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดีมาก ตรวจวัดได้ 9-24 มคก/ลบ.ม.
- กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยส่วนใหญ่สถานีตรวจจับของ ฝุ่นละออง pm2.5 ร่วมกับกทม.เกินค่ามาตรฐานตรวจจับได้ 45 -103 มคก/ลบ.ม.

คำแนะนำ สำหรับการหลีกเลี่ยงต่อฝุ่น PM 2.5
- แนะนำให้ประชาชนทั่วไป เฝ้าระวังสุขภาพลดเวลาการทำกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความจำเป็น สวมหน้ากากที่สามารถป้องกันฝุ่น PM 2.5 ได้
- สำหรับผู้ป่วย ต้องดูแลสุขภาพตัวเองเป็นพิเศษ ควรลดระยะเวลาในการกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตัวเองหากมีความจำเป็น ถ้ามีอาการทางสุขภาพควรรีบพบแพทย์ภายในทันที
- ควรหลีกเลี่ยงสภาพอากาศที่ไม่พึงประสงค์ หรือออกนอกบ้าน เที่ยวต่างจังหวัดอย่างเช่น ในภาคใต้ที่มีสภาพอากาศดีเป็นครั้งคราว
- ป้องกันตัวเองหลีกเลี่ยงจากสภาวะฝุ่น และควรมี เครื่องฟอกอากาศ ติดบ้านทำให้อากาศบริสุทธิ์
- สำหรับประชาชนที่อยู่ในกรุงเทพฯ และพื้นที่ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ พื้นที่สีแดงขุ่นหลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตัวเองหากมีความจำเป็นออกนอกพื้นที่ หากมีปัญหาทางสุขภาพควรจะปรึกษาแพทย์
ติดตาม ข่าว สถานการณ์ สภาพอากาศ ได้ผ่าน กรมอุตุวิทยา หรือข่าวสารตามช่องทางต่างๆ การรักษาร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอจะช่วยลดผลต่อสุขภาพจาก PM 2.5 ได้ พยายามอย่าให้เป็นโรคทางเดินหายใจเช่น เป็นหวัดหรือสูบบุหรี่ เพราะจะยิ่งทำให้ซ้ำเติมปอด และแย่ลง ควรฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ทุกปีผู้ที่ทำงานกลางแจ้งทุกอาชีพ ควรตรวจสภาพร่างกายต่อทุกปี เพื่อเป็นการตรวจสุขภาพ และจะได้รู้เท่าทันในการรักษาต่อไป เพราะเรายังไม่สามารถกำจัดสาเหตุไม่ได้จึงควรปฏิบัติตามที่กล่าวไว้ก่อน
Most Commented Posts